บันทึกการเรียนครั้งที่ 4
ความรู้ที่ได้รับ : Knowledge
^_^ ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา (Children with Speech and Language Disorders )
เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด
หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องซึ่งเกิดจากการพูดผิดปกติ ในด้านความชัดเจนในการปรับปรุงแต่งระดับและคุณภาพของเสียง จังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด เช่น
1. ความบกพร่องในด้านการปรุงเสียง (Articulator Disorders)
2. ความบกพร่องของจังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด (speech Flow Disorders)
3. ความบกพร่องของเสียงพูด (Voice Disorders)
เด็กที่มีความบกพร่องทางการภาษา
หมายถึง การขาดความสามารถที่จะเข้าใจความหมาย ของคำพูด และ/หรือไม่สามารถแสดงความคิดออกมาเป็นถ้อยคำได้ เช่น
1. การพัฒนาการทางภาษาช้ากว่าวัย (Delayed Language)
2. ความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า Dysphasia หรือ aphasia
เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา (Children with Speech and Language Disorders )
เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด
หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องซึ่งเกิดจากการพูดผิดปกติ ในด้านความชัดเจนในการปรับปรุงแต่งระดับและคุณภาพของเสียง จังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด เช่น
1. ความบกพร่องในด้านการปรุงเสียง (Articulator Disorders)
2. ความบกพร่องของจังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด (speech Flow Disorders)
3. ความบกพร่องของเสียงพูด (Voice Disorders)
เด็กที่มีความบกพร่องทางการภาษา
หมายถึง การขาดความสามารถที่จะเข้าใจความหมาย ของคำพูด และ/หรือไม่สามารถแสดงความคิดออกมาเป็นถ้อยคำได้ เช่น
1. การพัฒนาการทางภาษาช้ากว่าวัย (Delayed Language)
2. ความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า Dysphasia หรือ aphasia
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางการพูดและภาษา
- ในวัยทารกมักเงียบผิดธรรมชาติ ร้องไห้เบา ๆ และอ่อนแรง
- ไม่อ้อแอ้ภายในอายุ 10 เดือน
- ไม่พูดภายในอายุ 2 ขวบ
- หลัง 3 ขวบแล้วภาษาพูดของเด็กก็ยังฟังเข้าใจยาก
- ออกเสียงตัวสะกดไม่ได้
- หลัง 5 ขวบ เด็กยังคงใช้ภาษาที่เป็นประโยคไม่สมบูรณ์ในระดับประถมศึกษา
- มีปัญหาในการสื่อความหมาย พูดตะกุกตะกัก
- ใช้ท่าทางในการสื่อความหมาย
เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
(Children with Physical and Health Impairments)
คือ
- เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน
- อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งหายไป
- เจ็บป่วยเรื้อรังรุนแรง
- มีปัญหาทางระบบประสาท
- มีความลำบากในการเคลื่อนไหว
เช่น โรคลมชัก
ซี.พี. (Cerebral Palsy)
หมายถึง การเป็นอัมพาตเนื่องจากระบบประสาทสมองพิการ หรือเป็นผลมาจากสมองที่กำลังพัฒนาถูกทำลายก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอด
การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล่าช้า เด็กซีพี มีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่าง ๆ ของสมองแตกต่างกัน
1. กลุ่มแข็งเกร็ง (spastic)
1. spastic hemiplegia อัมพาตครึ่งซีก
2. spastic diplegia อัมพาตครึ่งท่อนบน
3. spastic paraplegia อัมพาตครึ่งท่อนล่าง
4. spastic quadriplegia อัมพาตทั้งตัว
2.กลุ่มที่มีการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นเอง (athetoid , ataxia)
athetoid คือ อาการขยุกขยิกช้า ๆ หรือเคลื่อนไหวเร็วๆที่เท้า แขน มือ หรือที่ใบหน้าของ เด็กบางรายอาจมีคอเอียง ปากเบี้ยวร่วมด้วย
ataxia คือ มีความผิดปกติในการทรงตัวของร่างกาย กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน
3. กลุ่มอาการแบบผสม (Mixed)
ได้แก่ 1. โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อ (Orthopedic)
2. โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อ (Orthopedic)
3. โปลิโอ (Poliomyelitis)
4. โรคระบบทางเดินหายใจ โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus )
5. โรคหัวใจ (Cardiac Conditions)
6. โรคมะเร็ง (Cancer)
7. เลือดไหลไม่หยุด (Hemophilia)
8. แขนขาด้วนแต่กำเนิด (Limb Deficiency)
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
- มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
- ท่าเดินคล้ายกรรไกร
- เดินขากะเผลก หรืออึดอาดเชื่องช้า
- ไอเสียงแห้งบ่อย ๆ
- มักบ่นเจ็บหน้าอก บ่นปวดหลัง
- หน้าแดงง่าย มีสีเขียวจางบนแก้ม ริมฝีปากหรือปลายนิ้ว
- หกล้มบ่อย ๆ
- หิวและกระหายน้าอย่างเกินกว่าเหตุ
ภาพกิจกรรม
ทักษะ : Skill
- การคิด - วิเคราะห์
- การสังเคราะห์
- การคิด แก้ปัญหา
- การระดมความคิด
การนำไปใช้ : Adoption
^_^ นำความรู้ ทักษะ ลักษณะอาการ ปารปฐมพยาบาลต่างๆไปใช้ในเหตุการณ์จริง หรือพบเห็นในชั้นเรียนเด็กปฐมวัยได้
การประเมิน : Evaluation
ตัวเอง
เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย ตั้งใจเรียน ร่วมวิเคราะห์และทำกิจกรรมภายในห้อง
เพื่อน
เพื่อนแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ตั้งใจเรียน ตั้งใจร่วมทำกิจกรรมภายในห้องเรียน
อาจารย์ผู้สอน
เข้าสอนตรงต่อเวลา อธิบายเพิ่มเติมจากหัวข้อได้ดี เข้าใจง่าย ยกตัวอย่างให้เข้าใจง่ายขึ้น แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
ห้องเรียน
สะอาด อุปกรณ์ครบพร้อมใช้งาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น